การประกอบคอมพิวเตอร์ - GotoKnow

1.

2.ไฟฉายเล็กๆ สำหรับส่องในตัวเครื่องที่เป็นซอกแคบๆและมืด หรือเพื่ออ่านอักษรหรือตัวเลขที่กำกับไว้บนบอร์ด

3.คีมปากยาว สำหรับส่วนที่เข้าถึงยากหรือใช้คีบน็อตตัวเล็กๆ

4. บล็อคตัวเล็กๆสำหรับขันขาตั้งหกเหลี่ยมเพื่อยึดเมนบอร์ดกับตัวเครื่อง

วิธีสังเกตตำแหน่งของขา 1 ของอุปกรณ์ที่สำคัญมีดังนี้

จัมเปอร์ (Jumper) เป็นขั้วต่อที่มีลักษณ์เป็นเข็มสำหรับเสียบพลาสติกเล็กๆที่ภายในเป็นโลหะนำไฟฟ้าเพื่อใช้เชื่อมวงจรเข้าด้วยกัน เขมเหล่านี้อาจจะอยู่ด้วยกัน เป็นคู่ๆเรียงกันไป หรือเป้นชุดสามเข็ม หรือหลายๆเข็มก็แล้วแต่ เข็มเหล่านี้ใช้กำหนดค่าตัวเลือกต่างๆทางฮาร์ดแวร์ เช่น ความเร็วของซีพียู เป็นต้น ส่วนวิธีใช้มีอยู่ด้วยกับสามแบบ คือ Close คือเชื่อมเข้าด้วยกัน Open คือไม่มีการเชื่อมต่อเข้าหากัน และเลือกเสียบระหว่างแต่ละเข็ม เช่น 1 กับ 2,2 กับ 3 หรือ 3 กับ 4ฯลฯ ซึ่งในกรณีนี้ก็จะมีตัวเลขกำ กับขาอยู่ ซึ่งจะดูเลขขาได้ด้วยเทคนิคต่างๆที่กล่าวผ่านมาในหัวข้อที่แล้ว

-50 เส้น-รุ่นเก่าจะเป็นแบบ 40 เส้นแต่สำหรับฮาร์ดดิสก์รุ่นใหม่ๆตั้งแต่ ATA-100 ขึ้นไปจะเป็นแบบ 80 เส้น-34 เส้น

เมื่อแกะเมนบอร์ดออกมาจากกล่อง ก็มักจะมีสายต่อต่างๆติดมาให้ด้วยอย่างครบถ้วน ส่วนสกรูและน๊อตต่างๆที่ต้องใช้นั้นก็จะติดมากับตัวเครื่อง (Case) ซึ่งจะใช้ใน การประกอบเมนบอร์ดและอุปกรณ์ต่างๆอยู่แล้ว

1. ประกอบซีพียูและ RAM ลงบนเมนบอร์ด

2. ติดตั้งเมนบอร์ดเข้ากับตัวเครื่อง

3. ติดตั้งฟล็อปปี้ดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ และไดรว์ซีดีรอม

4. ต่อสายสัญญาณต่างๆภายในเครื่อง

5. ติดตั้งการ์ดต่างๆ

6. ต่ออุปกรณ์ภายนอก (ได้แก่ จอภาพ คีย์บอร์ด และเมาส์) และทดสอบ

7. ติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมอื่นๆ (เช่นอุปกรณ์ประเภท SCSI หรือฮาร์ดดิสก์ตัวที่สอง)

1. ง้างกระเดื่องที่ซ็อคเก็ตบนเมนบอร์ดออกทางด้านข้างแล้วยกขึ้นจนสุด

2. วางซีพียูลงไปตรงๆโดยจะต้องให้มุมที่บากไว้ตรงกันด้วย

3. หลังจากใส่ซีพียูลงในซ็อคเก็ตเรียบร้อยแล้ว ให้กดกระเดื่องกลับเข้าที่ โดยดันกลับไปจนสุด กระเดื่องจะกลับเข้าล็อคและยึดซีพียูให้อยู่กับที่

4. หลังจากนั้นทำการติดตั้งพัดลมซีพียูหรือ Heat Sink ลงบนตัวซีพียูเพื่องช่วยระบายความร้อน แต่ก่อนติดตั้งควรทาซิลิโคนให้เป็ฟิล์มบางๆลงบน Core ของซีพียูเสียก่อนเพื่อ ช่วยถ่ายเทความร้อนจากซีพียูไปสู่ตัว Heat Sink ได้ดียิ่งขึ้น หรือถ้า Heat Sink มีแผ่นช่วยระบายความร้อนติดมาให้แล้วก็สามารถใช้แทนซิลิโคนได้

5. หลังจากวาง Heat Sink ลงไปบนซีพียูแล้ว ให้ยึดคลิปโลหะเข้าขอเกี่ยวให้เรียบร้อยเพื่อยึดให้ Heat Sink อยู่กับที่ จากนั้นก็ต่อสายจากตัวพัดลมระบายความร้อนลงไปต่อ ที่ขั้วจ่ายไฟ 12 โวลต์บนเมนบอร์ด

4. เสียบขาพลาสติกที่ขาด้านหลังของแผงเมนบอร์ด และติดหลักสำหรับยึกแผงเมนบอร์ดกับแท่งเครื่อง โดยใช้หกเหลี่ยมขันหลักยึดให้แน่น

วนขายึดสำหรับเครื่องรุ่นใหม่ๆก็จะใช้แผ่นโลหะสี่เหลี่ยมเสียบเข้ากับตัวแท่นเครื่อง และใช้แท่งพลาสติกยึดจากด้านบน ทำให้ติดตั้งได้ง่ายขึ้น

การติดตั้งเมนบอร์ดยึดติดเข้ากับแท่นเครื่องสมัยก่อน จะใช้ขาพลาสติก ซึ่งด้านหนึ่งเป็นปลายแหลมสำหรับเสียบเข้าที่ด้านล่างของเมนบอร์ดตามตำแห่งต่างๆที่ตรงกับรูบน แท่นเครื่อง เช่น ที่มุมทั้งสี่ของเมนบอร์ด ดังรูปที่ 1 และรูปที่ 2 หรือในบางกรณีที่ถูกยึดบนแท่นเครื่องเป็นแบบหลักหกเหลี่ยมจะต้องใช้การขันสกรูเท่านั้น ดังรูปต่อไปนี้

กรณีที่เป็นหลักยึดหกเหลี่ยมจะต้องใช้ขันสกรูเท่านั้น ซึ่งการใช้สกรูก็ควรจะวางแหวนรองไว้ด้วย เพื่อเป็นฉนวนกันไฟฟ้าและป้องกันไม่ให้เมนบอร์ดเสียหายจากการขัน สกรู

ติดตั้งโดยต่อเข้ากับคอนโทรลเลอร์ของฟล็อปปี้ดิสก์โดยเฉพาะ ซึ่งต่อได้สูงสุด 2 ตัว โดยสายที่ใช้มักจะมีการไขว้สลับเอาไว้แล้วเพื่อกำหนดว่าตัวใดเป็นไดรว์แรก ปกติ ที่ปลายสุดซึ่งเป็นสายที่ไขว้แล้วจะเป็นไดรว์แรกหรือไดรว์ A: ส่วนตรงกลางใช้ต่อเข้ากับไดรว์ตัวที่เป็นไดรว์ B: ถ้ามีเพียงแค่ตัวเดียวก็ต่อเข้ากับที่ปลายสุดเท่านั้น ในการเสียบหัว ต่อฟล็อปปี้ดิสก์จะต้องระวังอย่าให้มีการเหลื่อมหรือเสียบกลับข้าง โดยสังเกตที่ขา 1 ของสายซึ่งจะตรงกับขา 1 ของไดรว์ ส่วนสายไฟเลี้ยงฟล็อปปี้ดิสก์ขนาด 3.5 นิ้วที่ใช้กันในปัจจุบัน จะใช้ขั้วต่อขนาดเล็ก และจะสามารถเสียบได้เพียงแบบเดียวเท่านั้น

ขั้นตอนการติดตั้ง

1. เปิดฝาด้านหน้าออกโดยในบางเครื่องอาจจะต้องกดที่ คลิปด้านข้างแล้วดึงออกมาหรืออาจจะต้องงัดฝาเปิดออกมาก่อนด้วยไขควงแบน

2. เสียบไดรว์เข้าไปจากทางด้านหน้า โดยหันด้านท้ายของไดรว์เสียบเข้าไป

4. ยึดสกรูที่ด้านข้างและก่อนที่จะล็อคให้แน่น ควรทดลองปิดฝาด้านหน้าเข้าไปด้วย เพื่อให้พอดีกับตำแหน่ง

5. ส่วนกรณีที่เป็นฝาแบบที่มีช่องเสียบแผ่นดิสก์และมีขากด ก็ลองใส่แผ่นดิสก์ลงไปในช่องแล้วกดที่ขากดด้วยว่าทำงานได้ดีหรือไม่

6. เสียบสายไฟเส้นที่มีขั้วขนาดเล็กเข้ากับขั้วที่มี 4 ขา ซึ่งปกติขั้วนี้ถ้าเสียบผิดด้านจะเสียบไม่เข้า เมื่อเสียบเข้าไปแล้วให้สังเกตว่าสายเส้นสีแดงหันเข้าไปหาคอนเน็คเตอร์หรือหันออก

7. สังเกตขา 1 ของคอนเน็คเตอร์ดดยส่วนใหญ่มักจะมีตัวเลขกำกับไว้ แต่ถ้าไม่มีก็ให้สังเกตจากตำแหน่งของสายไฟเส้นสีแดงในข้อที่ 6

8. เสียบขั้วต่อสายแพขนาด 34 เส้นด้านที่เป็นสายไขว้กับขั้วที่มี 34 ขา ดดยระวังอย่าให้มีการเหลื่อม โดยสังเกตขา 1 และแถบสีแดง

9. เสียบขั้วต่อสายแพด้านที่เหลือเข้ากับขั้วต่อบนเมนบอร์ดตรงที่มีข้อความกำกับไว้ว่า Floppy หรือ FDC หรือ FDD

ในบางเครื่องอาจจะใช้สายเคเบิลชนิดที่มีการตัดสายไว้แล้ว เพื่อเลือกอาร์ดดิสก์ตัวหลักและตัวรอง โดยการเสียบหัวต่อให้ถูกต้อง ในกรณีนี้จะกำหนดจัมเปอร์บน ฮาร์ดดิสก์ทุกตัวให้เป็น Cable Select หรือ CS จากนั้นติตั้งไดรว์เข้ากับตำแหน่งที่เตรียมไว้ดดยเฉพาะในตัวเครื่อง ซึ่งควรจะเลือกตรงที่มีที่ว่างมากที่สุดเพื่อช่วยให้ระบาย ความร้อนได้ดีขึ้น และเผื่อสำหรับการเพื่อฮาร์ดดิสก์ในอนาคตอีกด้วย

3. เสียบสายแพเข้าที่ขั้วต่อของฮาร์ดดิสก์ ดดยหันด้านที่มีแถบสีแดงให้ตรงกับขา 1

สิ่งที่จะต้องติดตั้งก่อนนำไปติดตั้งในเครื่องก็คือซีพียู และ RAMวิธีติดตั้งซีพียูเข้ากับเมนบอร์ดนั้นก็จะขึ้นอยู่กับชนิดของซ็อคเก็ต (Socket) หรือ (Slot) และเมนบอร์ดที่ใช้ ซึ่งในปัจจุบันนี้ช่องเสียบซีพียูที่เป็นแบบสล็อตนั้น เลิกผลิตและไม่ได้ใช้มานานแล้ว ในที่นี้จึงขอกล่าวถึงเฉพาะช่องเสียบซีพียูที่เป็นแบบซ็อคเก็ตเท่านั้นซีพียูในปัจจุบันที่ถูกผลิตออกมาขายไม่ว่าจะเป็นของค่ายใดๆก็ตามนั้น จะเป็นแบบซ็อคเก็ต (Socket) หรือที่เราใช้เรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า PGA (pin Grid Array) ซีพียูที่ใช้ช่องเสียบหรือซ็อคเก็ตแบบ PGA นั้นก็คือ ซีพียูที่มีขาอยู่เป็นจำนวนมากใต้แผ่นเซรามิคหรือแผ่นพลาสติกแบนๆ ซึ่งมีหลายรุ่นและใช้เสียบกับซ็อคเก็ต แบบต่างๆกันคือโดยมากซ็อคเก็ตในปัจจุบันจะเป็นแบบ ZIF (Zero Insertion Force) ที่เพียงแต่ง้างกระเดื่องออกทางด้านข้างแล้วโยกขึ้นมา จากนั้นก็วางซีพียูลงไป แล้วกดกระเดื่องกลับเข้าไปเท่านั้น ส่วนวิธีการติดตั้งซีพียูลงบนซ็อคเก็ตแบบต่างๆมีดังนี้ซีพียู Pentium 4 จาก Intel จะเป็นซีพียูแบบ mPGA โดยหลักการส่วนใหญ่จะเหมือนกันกับการติดตั้งซีพียูแบบ PGA เว้นแต่ว่าการติดตั้ง Heat Sink และพัดลมจะมีวิธีการแตกต่างกันออกไปแรกเริ่มเดิมที Intel กำหนดให้เคสที่จะใช้ติดตั้ง Pentium 4 จะต้องมีแท่นยึดเพิ่มขึ้นอีก 4 จุด ซึ่งจะตรงกับรูที่เจาะไว้บนเมนบอร์ดเพื่อให้สามารถยึด Heat Sink และพัดลมทะลุลงมาที่เคสได้โดยตรง ทั้งนี้เนื่องการ Heat Sink สำหรับ Pentium 4 ได้ถูกกำหนดให้มีขนาดใหญ่มากจนการยึดกับเมนบอร์ดอาจจะไม่แข็ง แรงเพียงพอ และที่แน่ๆก็คือ ไม่สามารถยึดกับซ็อคเก็ตสำหรับซีพียูเช่นเดิมได้อีกต่อไป ข้อกำหนดนี้ทำให้ การเลือกใช้ซีพียู Pentium 4 จะต้องใช้เคสรุ่นใหม่เท่านั้น และ เมนบอร์ดถูกกำหนดตำแหน่งสำหรับซ็อคเก็ตซีพียูไว้อย่างแน่นอน จนไม่สามารถเปลี่ยน เลื่อน หรือเคลื่อนย้ายได้ อย่าไรก็ตามยังมีผู้ผลิตเมนบอร์ดบางรายที่ได้พยายามหาวิธีอื่นใน การยึดติด Heat Sink เข้ากับเมนบอร์ด โดยไม่ต้องพึ่งแท่นยึดของเคสใหม่อีกต่อไป โดยทำเป็นกรอบพลาสติกมาให้บนบอร์ดเลย เช่น Socket 478 รุ่นใหม่ๆนั้นจะมีชุด พัดลมและกรอบแบบใหม่ ซึ่งล็อคด้วยก้านกระเดื่องที่อยู่ด้านบนในการติดตั้งก็เพียงแต่กดลงไปให้ขายึดเกี่ยวเข้ากับร่องที่อยู่บนฐาน แล้วโยกกระเดื่องทับไปอีกข้างหนึ่ง เพื่อล็อค Heat Sink ให้ติดอยู่กับตัวซีพียู2. วางซีพียูลงไปตรงๆโดยจะต้องให้มุมที่บากไว้ตรงกันด้วย3. หลังจากใส่ซีพียูลงในซ็อคเก็ตเรียบร้อยแล้ว ให้กดกระเดื่องกลับเข้าที่ โดยดันกลับไปจนสุด กระเดื่องจะกลับเข้าล็อคและยึดซีพียูให้อยู่กับที่4. หลังจากนั้นทำการติดตั้งพัดลมซีพียูหรือ Heat Sink ลงบนตัวซีพียูเพื่องช่วยระบายความร้อน แต่ก่อนติดตั้งควรทาซิลิโคนให้เป็ฟิล์มบางๆลงบน Core ของซีพียูเสียก่อนเพื่อ ช่วยถ่ายเทความร้อนจากซีพียูไปสู่ตัว Heat Sink ได้ดียิ่งขึ้น หรือถ้า Heat Sink มีแผ่นช่วยระบายความร้อนติดมาให้แล้วก็สามารถใช้แทนซิลิโคนได้5. ลักษณะของพัดลมซีพียู หรือ Heat Sink ที่จะใช้วางลงบนตัวซีพียู Pentium 46. กดพัดลมลงไปให้ขายึดเกี่ยวเข้ากับร่องที่อยู่บนฐาน7. เมื่อยึดเกี่ยวเข้ากับร่องที่อยู่บนฐานโยกกระเดื่องทับไปอีกข้างหนึ่ง เพื่อล็อค Heat Sink ให้ติดอยู่กับตัวซีพียูปกติช่องเสียบ RAM จะมีอยู่หลายช่องขึ้นกับการออกแบบเมนบอร์ด และจะต้องเสียบ RAM อย่างไรจำนวนเท่าไรก็ขึ้นอยู่กับชนิดของ RAM และซีพียูที่ใช้ ซึ่งพอจะสรุป คร่าวๆตามประเภทของซีพียูและลักษณะของ RAM ในปัจจุบันได้ดังนี้-DIMM Slot ที่ใช้กับหน่วยความจำ SDRAM มีจำนวนขาทั้งสิ้น 168 pin-DIMM Slot ที่ใช้กับหน่วยความจำ DDR-SDRAM มีจำนวนขาทั้งสิ้น 184 pin-RIMM Slot ที่ใช้กับหน่วยความจำ RDRAM มีจำนวนขาทั้งสิ้น 184 pin1. ตรวจดูตำแหน่งของ Slot ที่จะใส่ RAM โดยสังเกตจากตัวอักษร DIMM 0,1,2และ3 ที่อยู่ตรงปลายด้านหนึ่งของ Slot โดยปกติแล้วเราจะเสียบลงบน Slot ใดก็ได้แต่ควรจะเริ่มต้นเสียบ RAM ตัวแรกลงใน DIMM 0 ก่อน2. ให้ง้างตัวล็อคที่ปลายทั้งสองด้านของ DIMM 0 ออกจากกัน3. เสียบแผงหน่วยความจำ SDRAM ลงในช่องและกด RAM ลงไปเบาๆบน Slot โดยให้ด้านที่มีรอยบากตรงกับบ่าที่อยู่ตรงกลาง slot4. ดันตัวล็อคที่ปลายทั้งสองข้างกลับเข้าที่ให้แน่น โดยให้เดือยที่ตัวล็อคตรงกับรอยบากด้านข้างของแผงหน่วยความจำพอดี หรือโดยปกติแล้วเวลากด RAM ลงไปใน Slot ตรงๆ ตัวล็อคทั้งสองข้างจะดีดกลับขึ้นมาล็อคเองโดยอัตโนมัติส่วนการติดตั้ง RAM แบบอื่นๆ เช่น DDR-SDRAMหรือ RDRAM ก็มีขั้นตอนเหมือนกับการติดตั้ง RAM แบบที่กล่าวมาเช่นกัน เพียงแต่ว่าถ้าเป็นเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆ ในปัจจุบันนี้บน DIMM Slot อาจระบุว่า Dual-Channel หมายถึงถ้าใส่ RAM แบบ DDR-SDRAM เป็นคู่จะทำให้มีแบนด์วิดธ์กว้างขึ้นเป็น 2 เท่าในการรับส่งข้อมูล หรือ ถ้าเป็นสำหรับ RIMM Slot ที่ใช้กับ RAM แบบ RDRAM นั้น ในแชนเนลหนึ่งๆจะใส่ RDRAM ได้จำกัดและหากใส่ไม่เต็มก็ต้องใส่แผงหลอกลงไปเพื่อให้ได้คุณสมบัติทางไฟฟ้า คงเดิมด้วย ซึ่งปัจจุบันเมนบอร์ดสำหรับ Pentium 4 ที่ใช้แบบ RDRAM มักจะถูกออกแบบให้มี 2 แชนเนลหรือมากกว่า ซึ่งแต่ละแชนเนลใส่ได้ 2 แผงเวลาใช้งานจริงก็ต้องใส่ RDRAM ลงไปแชนเนลละแผงพร้อมแผงหลอกอีกแชนเนลละแผงด้วย ดังรูปหลังจากติดตั้งซีพียู อุปกรณ์ระบายความร้อนซีพียู และ RAM ลงบนเมนบอร์ดเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปก็คือ ติดตั้งเมนบอร์ดเข้ากับตัวเครื่อง (Case)

1. ถอดฝาเปิดด้านหน้าและงักเหล็กที่ปิดไว้ออกมา

2. ปิดฝาหน้ากลับเข้าไปใหม่

3. สอดไดรว์ซีดีรอมเข้าไปให้พอดีกับฝาหน้า

4. ขันสกรูยึดให้แน่นทั้งสองด้าน

5. เสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยงแบบเดียวกับตอนประกอบฮาร์ดดิสก์

6. จากนั้นเสียบสายสัญญาณเสียงสำหรับต่อเข้ากับการ์ดเสียงด้วย

Write a Comment